กลุ่มอาการโครโมโซมเอกซ์เปราะบาง (Fragile X syndrome)
|
ชื่ออื่น |
Martin–Bell syndrome, Escalante syndrome |
|
เด็กชายที่มีใบหูยื่นออกซึ่งมีลักษณะของกลุ่มอาการโครโมโซมเอกซ์เปราะบาง |
สาขาวิชา |
เวชพันธุศาสตร์, กุมารเวชศาสตร์, จิตเวชศาสตร์
|
อาการ |
ปัญญาอ่อน, ใบหน้ายาวและแคบ, ใบหูใหญ่, นิ้วบิดงอได้ผิดปรกติ, อัณฑะขนาดใหญ่ผิดปรกติ
|
ภาวะแทรกซ้อน |
ลักษณะแบบโรคออทิซึม, อาการชัก
|
การตั้งต้น |
สังเกตได้เมื่อผู้ป่วยอายุ 2 ปี |
ระยะดำเนินโรค |
ตลอดชีวิต |
สาเหตุ |
พันธุกรรม (ถ่ายทอดทางยีนเด่นบนโครโมโซมเอกซ์) |
วิธีวินิจฉัย |
การทดสอบทางพันธุกรรม
|
การรักษา |
การดูแลประคับประคอง, การกระตุ้นพัฒนาการ |
ความชุก |
1 ใน 4,000 (ชาย), 1 ใน 8,000 (หญิง) |
กลุ่มอาการโครโมโซมเอกซ์เปราะบาง (อังกฤษ: Fragile X syndrome) หรือกลุ่มอาการมาร์ติน-เบล (อังกฤษ: Martin-Bell syndrome) เป็นสาเหตุของภาวะสติปัญญาบกพร่องเล็กน้อยถึงปานกลางที่ถ่ายทอดในครอบครัวซึ่งพบบ่อยที่สุด และเป็นโรคทางพันธุกรรมที่สัมพันธ์กับภาวะสติปัญญาบกพร่องที่พบมากที่สุดรองจากกลุ่มอาการดาวน์
ประวัติศาสตร์
ในปี ค.ศ. 1943 Martin และ Bell ได้สำรวจครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวที่เป็นเพศชายมีภาวะสติปัญญาบกพร่องหลายราย ทั้งสองสามารถเชื่อมโยงการถ่ายทอดภาวะสติปัญญาบกพร่องนี้ว่าเป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับโครโมโซมเอกซ์ได้แม้จะยังไม่ทราบลักษณะที่แน่นอน ต่อมาในปี ค.ศ. 1969 Lubs ค้นพบข้อมูลทางพันธุกรรมส่วนที่เกินมาจากแขนข้างยาวของโครโมโซมเอกซ์ในผู้ป่วยเพศชายและเพศหญิงที่ไม่มีอาการ ผลการสังเกตนี้ยังไม่มีใครพบยืนยันซ้ำจนกระทั่งมีการค้นพบว่าผลจาก folate-deficient thymidine-deficient medium ที่ใช้ในการเพาะเซลล์ลิมโฟซัยต์ในการศึกษาระยะแรก ๆ นั้นเป็นส่วนสำคัญในการศึกษา
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค |
|
ทรัพยากรภายนอก |
|
|
หัวข้อหลัก |
|
การวินิจฉัย |
|
ภาวะที่เกี่ยวข้อง |
|
ข้อโต้เถียง |
|
เครื่องมือวินิจฉัยคัดกรอง |
|
รายการ |
|
|
|
ออโตโซม |
|
โครโมโซมเพศ (X/Y) |
|
|
|
กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (47,XXY) · 48,XXYY · 48,XXXY · 49,XXXYY · 49,XXXXY
Triple X syndrome (47,XXX) · 48,XXXX · 49,XXXXX
47,XYY · 48,XYYY · 49,XYYYY
46,XX/XY
|
|
การเคลื่อนย้าย |
|
Gonadal dysgenesis |
|
อื่นๆ |
|