Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
พยาธิวิทยาคลินิก
ส่วนหนึ่งของรายการเรื่อง |
นิติเวชศาสตร์ |
---|
การผ่าและพิสูจน์ศพ
|
การตรวจสอบระยะเวลาตาย
|
หน่วยงานในสังกัด
|
พยาธิวิทยาคลินิก หรือเวชศาสตร์ชันสูตร (อังกฤษ: Clinical pathology or Laboratory Medicine) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคโดยอาศัยการวิเคระห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์จากสิ่งส่งตรวจเช่นสารน้ำในร่างกาย เลือด หรือปัสสาวะ โดยอาศัยความรู้ทางเคมีคลินิก จุลชีววิทยาคลินิก โลหิตวิทยา และพยาธิวิทยาโมเลกุล (molecular pathology) ซึ่งแพทย์ด้านนี้จะทำงานร่วมกันกับนักเทคนิคการแพทย์
พยาธิวิทยาคลินิกเป็นหนึ่งในสองแขนงวิชาหลักของพยาธิวิทยา ซึ่งได้แก่พยาธิกายวิภาคและพยาธิวิทยาคลินิก พยาธิแพทย์อาจต้องศึกษาทั้งสองสาขาวิชาซึ่งเรียกว่า พยาธิวิทยาทั่วไป (general pathology)
พยาธิวิทยาคลินิกแบ่งออกได้อีกเป็นสาขาวิชาย่อยหลักๆ ได้แก่ เคมีคลินิก (clinical chemistry) , โลหิตวิทยาคลินิก (clinical hematology) , เวชศาสตร์การบริการโลหิตหรือธนาคารเลือด และจุลชีววิทยาคลินิก
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- American Society for Clinical Pathology
- American Board of Pathology
- College of American Pathologists
หลักพยาธิวิทยา |
โรค - การติดเชื้อ - การขาดเลือดเฉพาะที่ - การอักเสบ - การสมานแผล - เนื้องอก - โลหิตพลศาสตร์
การตายของเซลล์: การตายเฉพาะส่วน (Liquefactive necrosis, Coagulative necrosis, Caseous necrosis) - อะพอพโทซิส - Pyknosis - Karyorrhexis - Karyolysis การปรับตัวของเซลล์: การฝ่อ - การโตเกิน - การเจริญเกิน - การเจริญผิดปกติ - Metaplasia (Squamous, Glandular) การสะสมของสาร: สารสี (Hemosiderin, Lipochrome/Lipofuscin, เมลานิน) - Steatosis |
---|---|
พยาธิกายวิภาค | |
พยาธิวิทยาคลินิก |