พังผืดอักเสบมีเนื้อตาย (Necrotizing fasciitis)
|
ชื่ออื่น |
Flesh-eating bacteria, flesh-eating bacteria syndrome, necrotizing soft tissue infection (NSTI), fasciitis necroticans |
|
ขาซ้ายของผู้ป่วยพังผืดอักเสบมีเนื้อตาย แสดงให้เห็นบริเวณที่เปลี่ยนเป็นสีแดงและมีเนื้อตายเป็นวงกว้าง |
การออกเสียง |
|
สาขาวิชา |
Infectious disease |
อาการ |
Severe pain, fever, purple colored skin in the affected area |
การตั้งต้น |
เริ่มเป็นอย่างเฉียบพลันและลุกลามอย่างรวดเร็ว |
สาเหตุ |
Multiple types of bacteria, occasional fungus
|
ปัจจัยเสี่ยง |
Poor immune function such as from diabetes or cancer, obesity, alcoholism, intravenous drug use, peripheral artery disease
|
วิธีวินิจฉัย |
Based on symptoms, medical imaging
|
โรคอื่นที่คล้ายกัน |
Cellulitis, pyomyositis, gas gangrene
|
การป้องกัน |
Wound care, handwashing
|
การรักษา |
Surgery to remove the infected tissue, intravenous antibiotics
|
พยากรณ์โรค |
~30% mortality |
ความชุก |
0.7 per 100,000 per year |
พังผืดอักเสบมีเนื้อตาย (อังกฤษ: necrotizing fasciitis) เป็นการติดเชื้อของเนื้อเยื่ออ่อนที่ทำให้มีการตายของเนื้อเยื่อ เกิดขึ้นและลุกลามได้อย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยอาจมีอาการผิวหนังบริเวณที่เป็นกลายเป็นสีแดงหรือสีม่วง เจ็บปวด มีไข้ และอาเจียนได้ อวัยวะที่พบบ่อยคือแขนขาและบริเวณฝีเย็บ
เชื้อมักเข้าสู่ร่างกายผ่านรอยแยกที่ผิวหนังเช่นจากรอยบาดหรือแผลไฟไหม้ ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญได้แก่ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องต่างๆ เช่น เบาหวาน มะเร็ง โรคอ้วน การติดสุรา การใช้ยาเสพติด และโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ส่วนใหญ่ไม่ติดต่อจากคนสู่คน แบ่งออกเป็นสี่ชนิดขึ้นอยู่กับเชื้อที่เป็นสาเหตุ ผู้ป่วยราว 55-80% ติดเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 1 ชนิด เชื้อที่พบบ่อยถึงหนึ่งในสามคือแบคทีเรีย Staphylococcus aureus สายพันธุ์ดื้อยาเมทิซิลิน (MRSA) การตรวจภาพรังสีอาจมีส่วนช่วยในการวินิจฉัยในผู้ป่วยบางราย
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค |
|
ทรัพยากรภายนอก |
|
|
ข้อต่อชนิดแคปซูลาร์ |
|
ข้อต่อชนิดไม่ใช่แคปซูลาร์ |
|
ไม่ใช่ข้อต่อ |
|
|