Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ไดเฟนไฮดรามีน
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | /ˌdaɪfɛnˈhaɪdrəmiːn/ |
ชื่อทางการค้า | Benadryl, Unisom, Nytol, อื่น ๆ |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a682539 |
ข้อมูลทะเบียนยา | |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
Dependence liability |
ต่ำมาก |
ช่องทางการรับยา | ทางปาก, กล้ามเนื้อ, หลอดเลือดดำ, เฉพาะที่, ทวาร |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 40–60% |
การจับกับโปรตีน | 98–99% |
การเปลี่ยนแปลงยา | ตับ (CYP2D6, อื่น ๆ) |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | ขอบเขต: 2.4–13.5 ชั่วโมง |
การขับออก |
ปัสสาวะ: 94% อุจจาระ: 6% |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank |
|
ChemSpider |
|
UNII | |
KEGG |
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.000.360 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C17H21NO |
มวลต่อโมล | 255.36 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
7 7 (what is this?) (verify) | |
ไดเฟนไฮดรามีน (อังกฤษ: Diphenhydramine) เป็นยาสารต้านฮิสตามีนที่ใช้แก้ภูมิแพ้ และยังใช้แก้โรคนอนไม่หลับ, โรคจากหวัดทั่วไป, อาการสั่นในพาร์คินโซนิซึม และคลื่นไส้ โดยใช้วิธีการให้ทางปาก, ฉีดเข้าเส้นเลือด, ฉีกเข้ากล้ามเนื้อ หรือทาบนผิวหนัง ซึ่งจะมีผลประมาณสองชั่วโมงหลังให้ยาครั้งแรก และอาการจะอยู่นานถึงเจ็ดชั่วโมง
ผลข้างเคียงทั่วไปคือความง่วง, การประสานงานไม่ดี และท้องเสีย เด็กเล็กและผู้สูงอายุไม่แนะนำให้ใช้ ถึงแม้ว่าจะไม่มีความเสี่ยงในการใช้ยาตอนตั้งครภ์ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ตอนให้นมลูก ยานี้เป็นยาสารต้านฮิสตามีน H1 รุ่นแรกและเอทาโนลามีน และทำงานด้วยการบล็อกผลบางส่วนจากฮิสตามีน ไดเฟนไฮดรามีนยังเป็นยาต้านโคลิเนอร์จิคด้วย
ไดเฟนไฮดรามีนได้รับการผลิตขึ้นครั้งแรกโดย George Rieveschl และเริ่มใช้งานทางการค้าใน ค.ศ. 1946 ยานี้ปรากฏใช้ในยาสามัญ และมีการขายภายใต้ชื่อ Benadryl และอื่น ๆ
อ่านเพิ่ม
- Lieberman JA (2003). "History of the use of antidepressants in primary care" (PDF). Primary Care Companion J. Clinical Psychiatry. 5 (supplement 7): 6–10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-06-11. สืบค้นเมื่อ 2022-07-03.
- Cox D, Ahmed Z, McBride AJ (March 2001). "Diphenhydramine dependence". Addiction. 96 (3): 516–7. PMID 11310441.
- Björnsdóttir I, Einarson TR, Gudmundsson LS, Einarsdóttir RA (December 2007). "Efficacy of diphenhydramine against cough in humans: a review". Pharmacy World & Science. 29 (6): 577–83. doi:10.1007/s11096-007-9122-2. PMID 17486423. S2CID 8168920.
แหล่งข้อมูลอื่น
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ไดเฟนไฮดรามีน |
- "Diphenhydramine". Drug Information Portal. U.S. National Library of Medicine.
Aminoalkyl ethers | |
---|---|
ทดแทน Alkylamine |
|
ทดแทน Ethylenediamine | |
Phenothiazine derivatives | |
Piperazine derivatives | |
ใช้งานทั่วกาย |
|
ใช้งานเฉพาะจุด |
GABAA |
|
||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
GABAB | |||||||||||||||||||||||||
H1 |
|
||||||||||||||||||||||||
α2-Adrenergic | |||||||||||||||||||||||||
5-HT2A |
|
||||||||||||||||||||||||
เมลาโทนิน | |||||||||||||||||||||||||
Orexin | |||||||||||||||||||||||||
อื่นๆ |