Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ | |
---|---|
ชื่ออื่น | Water on the brain |
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำที่เห็นจากซีทีสแกนของสมอง บริเวณสีดำในกลางสมองใหญ่และเต็มไปด้วยน้ำอย่างผิดปกติ | |
การออกเสียง | |
สาขาวิชา | neurosurgery |
อาการ |
Babies: rapid head growth, vomiting, sleepiness, seizures Older people: Headaches, double vision, poor balance, urinary incontinence, personality changes, mental impairment |
สาเหตุ | Neural tube defects, meningitis, brain tumors, traumatic brain injury, brain bleed during birth, intraventricular hemorrhage |
วิธีวินิจฉัย | Based on symptoms and medical imaging |
การรักษา | Surgery |
พยากรณ์โรค | Variable, often normal life |
ความชุก | 1.5 per 90,000 (babies) |
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ หรือในเด็กเรียก ภาวะหัวบาตร (อังกฤษ: hydrocephalus) เป็นภาวะทางการแพทย์ซึ่งมีการสะสมผิดปกติของน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (CSF) ในสมอง ทำให้ความดันในศีรษะเพิ่มขึ้นภายในกะโหลกศีรษะและอาจทำให้ศีรษะโตขึ้นเรื่อย ๆ ในเด็ก ซึ่งอาจทำให้ชัก การเห็นแบบอุโมงค์ (tunnel vision) และพิการทางจิตได้
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำเกิดได้จากปัจจัยแต่กำเนิดหรือเกิดภายหลัง สาเหตุแต่กำเนิด เช่น กระดูกสันหลังโหว่ สภาพวิรูปอาร์โนลด์–คีอารี (Arnold–Chiari malformation) กะโหลกเป็นสัน (craniosynostosis) กลุ่มอาการแดนดี–วอล์กเกอร์ (Dandy–Walker syndrome) และสภาพวิรูปหลอดเลือดดำกาเลนโป่งพอง (Vein of Galen malformation) สาเหตุเกิดภายหลัง เช่น เลือดออก เยื่อหุ้มสมองอักเสบ การบาดเจ็บที่ศีรษะ เนื้องอกและถุงน้ำ
ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำโดยทั่วไปแบ่งเป็นสองประเภท คือ ภาวะโพรงสมองคั่งน้ำแบบไม่ติดต่อ (non-communicating hydrocephalus) และภาวะโพรงสมองคั่งน้ำแบบติดต่อ (communicating hydrocephalus)
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |