Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ออกซิเจน
ออกซิเจน | |||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||||||||||||||||||||
ออกซิเจนในตารางธาตุ | |||||||||||||||||||||||||
ลักษณะปรากฏ | |||||||||||||||||||||||||
เป็นแก๊สไม่มีสี เมื่ออยู่ในสถานะของเหลวจะมีสีฟ้า เส้นสเปคตรัมของออกซิเจน | |||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทั่วไป | |||||||||||||||||||||||||
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม | ออกซิเจน, O, 8 | ||||||||||||||||||||||||
การออกเสียง | /ˈɒksɪdʒən/ ok-si-jən | ||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | อโลหะวาเลนซ์เดียว, แชลโคเจน | ||||||||||||||||||||||||
หมู่ คาบและบล็อก | 16 (แชลโคเจน), 2, p | ||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอมมาตรฐาน | 15.999(4) | ||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [He] 2s2 2p4 2, 6 |
||||||||||||||||||||||||
ประวัติ | |||||||||||||||||||||||||
การค้นพบ | คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (1771) | ||||||||||||||||||||||||
ตั้งชื่อโดย | อ็องตวน ลาวัวซีเย (1777) | ||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติกายภาพ | |||||||||||||||||||||||||
สถานะ | แก๊ส | ||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น | (0 °C, 101.325 kPa) 1.429 g/L |
||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดเดือด | 1.141 g·cm−3 | ||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 54.36 K, -218.79 °C, -361.82 °F | ||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 90.188 K, -182.962 °C, -297.332 °F | ||||||||||||||||||||||||
จุดร่วมสาม | 54.361 K, 0.1463 kPa | ||||||||||||||||||||||||
จุดวิกฤต | 154.581 K, 5.043 MPa | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | (O2) 0.444 kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | (O2) 6.82 kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | (O2) 29.378 J·mol−1·K−1 |
||||||||||||||||||||||||
ความดันไอ | |||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติอะตอม | |||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิเดชัน | 2, 1, −1, −2 | ||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 3.44 (Pauling scale) | ||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน | ค่าที่ 1: 1313.9 kJ·mol−1 | ||||||||||||||||||||||||
ค่าที่ 2: 3388.3 kJ·mol−1 | |||||||||||||||||||||||||
ค่าที่ 3: 5300.5 kJ·mol−1 | |||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 48 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีโควาเลนต์ | 66±2 pm | ||||||||||||||||||||||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 152 pm | ||||||||||||||||||||||||
จิปาถะ | |||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | รูปลูกบาศก์ | ||||||||||||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก | ||||||||||||||||||||||||
สภาพนำความร้อน | 26.58x10-3 W·m−1·K−1 | ||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง | (แก๊ส, 27 °C) 330 m·s−1 | ||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7782-44-7 | ||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปเสถียรที่สุด | |||||||||||||||||||||||||
บทความหลัก: ไอโซโทปของออกซิเจน | |||||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||
อ้างอิง |
ออกซิเจน (อังกฤษ: Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพืช
ประวัติ
การทดลองในยุคแรก
ในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 โรเบิร์ต บอยล์ ได้พิสูจน์ว่าออกซิเจนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาไหม้ โดยนักเคมีชาวอังกฤษ จอห์น มาร์โยว์ (1541-1679) ได้ปรับปรุงการทดลองนี้โดยผลการทดลองพบว่า ไฟต้องการอากาศเพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งเรียกว่า ไนโตรออเรียส (อังกฤษ: nitroaereus)ซึ่งในการทดลองหนึ่ง เขาพบว่าออกซิเจนแทรกเข้าไปในภาชนะปิดบนน้ำ ที่มีหนูและเทียนไขอยู่ในภาชนะดังกล่าว ทำให้ระดับน้ำสูงขึ้น และแทนที่ 1 ใน 4 ของปริมาตรอากาศก่อนดับเทียน ซึ่งจากการทดลองดังกล่าว สันนิษฐานได้ว่า ไนโตรออเรียสถูกใช้ในกระบวนการหายใจ และการเผาไหม้
มาร์โยว์พบว่า น้ำหนักของพลวงจะเพิ่มขึ้นเมื่อให้ความร้อน และอนุมานได้ว่า ไนโตรออเรียสต้องการรวมตัวกับสารดังกล่าวซึ่งเขาคิดว่า ปอดสามารถแยกไนโตรออเรียสจากอากาศ และเข้าสู่เลือด อีกทั้งมีผลต่อความอบอุ่นของสัตว์และการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ โดยเป็นผลจากปฏิกิริยาของไนโตรออเรียสกับสารบางชนิดในร่างกาย ซึ่งรายงานการทดลองเหล่านี้ และแนวคิดดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1668 เรื่อง "แทรคทาทุส ดูโอ" (อังกฤษ: Tractatus duo) ในหนังสือ "ดี เรสไพราติโอน" (อังกฤษ: De respiratione)
แหล่งกำเนิด
ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญและมีปริมาณเป็นอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลกคือมีประมาณ 20.947% โดยปริมาตร
สารประกอบออกซิเจน
เนื่องด้วยค่า อิเล็กโตรเนกาติวิตี ของออกซิเจน จะเกิด พันธะเคมี กับธาตุอื่น ๆ ได้เกือบหมด (และนี่คือจุดเริ่มต้นของคำจำกัดความว่า ออกซิเดชัน) มีเพียงก๊าซมีตระกูลเท่านั้นที่หนีรอดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันไปได้ และออกไซด์ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คือ ไดไฮโดรเจนโมโนออกไซด์ หรือ น้ำ (H2O).
สารประกอบออกซิเจนกับธาตุต่างๆ
- น้ำ (Water-H2O)
- ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide-H2O2)
- สนิม (iron oxide-Fe2O3)
- คาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide-CO2),
- แอลกอฮอล์ (alcohol-R-OH),
- อัลดีไฮด์ (aldehyde-R-CHO),
- กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid-R-COOH).
- ซิลิเกต (SI1O1)
- คลอเรต (chlorate-ClO3−),
- เปอร์คลอเรต (perchlorate-ClO4−),
- โครเมต (chromate-CrO42−),
- ไดโครเมต (dichromate-Cr2O72−),
- เปอร์แมงกาเนต (permanganate-MnO4−), and
- ไนเตรต (nitrate-NO3−) เป็นออกซิไดซิ่งเอเจนต์อย่างแรง
- โอโซน (Ozone-O3) เกิดขึ้นโดยการปลดปล่อยไฟฟ้าสถิตที่อยู่ในโมเลกุลของออกซิเจน 2 โมเลกุลของออกซิเจน (O2) 2 ซึ่งพบในส่วนประกอบย่อยของออกซิเจนเหลว
- อีป๊อกไซด์ (Epoxide) เป็น อีเทอร์ ซึ่งออกซิเจนอะตอมเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน 3 อะตอม
- สารคอปเปอร์ซัลเฟต (CUSO4)
การใช้
ทางการแพทย์
ใช้ทางการแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีออกซิเจนไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตทำให้ต้องหยิบเครื่องช่วยหายใจมาช่วยผู้ป่วย
ดูเพิ่ม
- การทดสอบของวิงเคลอร์เพื่อหาออกซิเจนที่ละลายในน้ำ เป็นคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำจืด
- การเผาไหม้
- ออกซิเดชัน
- ความหายนะของออกซิเจนในทางธรณีวิทยา
- พืชออกซิเจน
- เครื่องตรวจจับออกซิเจน
- สารประกอบออกซิเจน
- เนบิวเลียม
- การสูญเสียออกซิเจนในระบบนิเวศของน้ำ
- ชั้นโอโซน
- Los Alamos National Laboratory - Oxygen
- Nist atomic spectra database
- Nuclides and Isotopes Fourteenth Edition: Chart of the Nuclides, General Electric Company, 1989
แหล่งข้อมูลอื่น
- Priestley Society, Dedicated to Joseph Priestley the man who discovered oxygen
- Joseph Priestley Information Website, about the man who discovered oxygen เก็บถาวร 2017-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Los Alamos National Laboratory - Oxygen
- WebElements.com - Oxygen
- It's Elemental - Oxygen
- Oxygen Toxicity
- Oxygen (O2) Properties, Uses, Applications
- Computational Chemistry Wiki เก็บถาวร 2005-12-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ออกซิเจน |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | ||||||||||||||||||||||||||
1 | H | He | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
2 | Li | Be | B | C | N | O | F | Ne | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
3 | Na | Mg | Al | Si | P | S | Cl | Ar | |||||||||||||||||||||||||||||||||||
4 | K | Ca | Sc | Ti | V | Cr | Mn | Fe | Co | Ni | Cu | Zn | Ga | Ge | As | Se | Br | Kr | |||||||||||||||||||||||||
5 | Rb | Sr | Y | Zr | Nb | Mo | Tc | Ru | Rh | Pd | Ag | Cd | In | Sn | Sb | Te | I | Xe | |||||||||||||||||||||||||
6 | Cs | Ba | La | Ce | Pr | Nd | Pm | Sm | Eu | Gd | Tb | Dy | Ho | Er | Tm | Yb | Lu | Hf | Ta | W | Re | Os | Ir | Pt | Au | Hg | Tl | Pb | Bi | Po | At | Rn | |||||||||||
7 | Fr | Ra | Ac | Th | Pa | U | Np | Pu | Am | Cm | Bk | Cf | Es | Fm | Md | No | Lr | Rf | Db | Sg | Bh | Hs | Mt | Ds | Rg | Cn | Nh | Fl | Mc | Lv | Ts | Og | |||||||||||
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|