Мы используем файлы cookie.
Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.

ออกซิโตซิน

Подписчиков: 0, рейтинг: 0
ออกซิโตซิน
Oxytocin with labels.png
OxitocinaCPK3D.png
การอ่านออกเสียง /ˌɒksɪˈtsɪn/
ข้อมูลทางสรีรวิทยา
เนื้อเยื่อต้นกำเนิด ต่อมใต้สมอง
เนื้อเยื่อเป้าหมาย ทั่ว
ตัวรับ ตัวรับออกซิโทซิน (oxytocin receptor)
ยับยั้ง atosiban
สารต้นกำเนิด oxytocin/neurophysin I prepropeptide
เมแทบอลิซึม ตับและoxytocinaseอื่น
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
การจับกับโปรตีน 30%
การเปลี่ยนแปลงยา ตับและoxytocinaseอื่น
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ 1–6 นาที (ในหลอดเลือดดำ)
~2 ชั่วโมง (ทางจมูก)
การขับออก น้ำดีและไต
ตัวบ่งชี้
  • 1-({(4R,7S,10S,13S,16S,19R)-19-amino-7-(2-amino-2-oxoethyl)-10-(3-amino-3-oxopropyl)-16-(4-hydroxybenzyl)-13-[(1S)-1-methylpropyl]-6,9,12,15,18-pentaoxo-1,2-dithia-5,8,11,14,17-pentaazacycloicosan-4-yl}carbonyl)-L-prolyl-L-leucylglycinamide
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
IUPHAR/BPS
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ECHA InfoCard 100.000.045
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตร C43H66N12O12S2
มวลต่อโมล 1007.19 g/mol
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • CC[C@H](C)[C@@H]1NC(=O)[C@H](Cc2ccc(O)cc2)NC(=O)[C@@H](N)CSSC[C@H](NC(=O)[C@H](CC(N)=O)NC(=O)[C@H](CCC(N)=O)NC1=O)C(=O)N3CCC[C@H]3C(=O)N[C@@H](CC(C)C)C(=O)NCC(N)=O
  • InChI=1S/C43H66N12O12S2/c1-5-22(4)35-42(66)49-26(12-13-32(45)57)38(62)51-29(17-33(46)58)39(63)53-30(20-69-68-19-25(44)36(60)50-28(40(64)54-35)16-23-8-10-24(56)11-9-23)43(67)55-14-6-7-31(55)41(65)52-27(15-21(2)3)37(61)48-18-34(47)59/h8-11,21-22,25-31,35,56H,5-7,12-20,44H2,1-4H3,(H2,45,57)(H2,46,58)(H2,47,59)(H,48,61)(H,49,66)(H,50,60)(H,51,62)(H,52,65)(H,53,63)(H,54,64)/t22-,25-,26-,27-,28-,29-,30-,31-,35-/m0/s1 Yes check.svg 7
  • Key:XNOPRXBHLZRZKH-DSZYJQQASA-N Yes check.svg 7
  (verify)
Pharmaklog.png สารานุกรมเภสัชกรรม

ออกซิโตซิน (อังกฤษ: oxytocin, Oxt) เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน (peptide hormone) และนิวโรเปปไทด์ (neuropeptide) ปกติแล้วผลิตโดยนิวเคลียสพาราเวนทริคิวลาร์ (paraventricular nucleus) ของไฮโปทาลามัส และปล่อยโดยต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary) ทำงานในการเชื่อมโยงทางสังคม การสืบพันธ์ในทั้งสองเพศ รวมถึงระหว่างและหลังการให้กำเนิดบุตร ออกซิโตซินปล่อยสู่กระแสเลือดในรูปแบบของฮอร์โมนขณะตอบสนองต่อการยืดตัวของปากมดลูกและมดลูกระหว่างการคลอดบุตร และต่อการกระตุ้นที่หัวนมระหว่างให้นมบุตร สิ่งนี้ช่วยในการให้กำเนิด, ในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมารดาและบุตร และในการผลิตน้ำนม ออกซิโตซินถูกค้นพบโดย เฮนรี เดล (Henry Dale) ใน พ.ศ. 2449 รูปร่างของโมเลกุลถูกระบุใน พ.ศ. 2495 ออกซิโตซินยังถูกใช้เป็นยาที่ช่วยระหว่างคลอดบุตร


Новое сообщение