Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ไข้สูงอย่างร้าย
ไข้สูงอย่างร้าย (Malignant hyperthermia) | |
---|---|
ความผิดปกติในยีน Ryanodine Recepter 1 มักพบได้ในผู้ที่เคยเป็นหรือเป็น malignant hyperthermia, และอาจถูกใช้ในการหาความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนี้ด้วย
| |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | T88.3 |
ICD-9 | 995.86 |
OMIM | 145600 154275 154276 600467 601887 601888 |
DiseasesDB | 7776 |
MedlinePlus | 001315 |
MeSH | D008305 |
GeneReviews |
ไข้สูงอย่างร้าย (อังกฤษ: malignant hyperthermia (MH), malignant hyperpyrexia) คือสภาวะอันตรายถึงตายที่พบยาก ปกติเกิดจากการถูกกระตุ้นโดยการสัมผัสยาดมสลบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาชาระเหยและยาสำหรับการปิดกั้นระบบประสาทและกล้ามเนื้อ จำพวก succinylcholine ในบุคคลที่แพ้ยาดังกล่าว ยาจะทำให้เกิด oxidative metabolism ของกล้ามเนื้อลายอย่างรุนแรงและไม่อาจควบคุมได้ ส่งผลให้ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลวและเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาโดยเร็ว
ความผิดปกติที่ทำให้เกิดอาการ MH มีส่วนเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของยีนออโตโซมเด่นที่มีความสำคัญอย่างน้อย 6 จุด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยีน ryanodine receptor (RYR1). ลักษณะความปกติ MH มักมีความเกี่ยวข้องทั้งทางกายภาพและทางพัธุกรรมกับ central core disease (CCD) ซึ่งเป็นความผิดปกติของยีนออโตโซมเด่นที่มีเอกลักษณ์เดียวกันทั้งอาการ MH และ myopathy. MH มักปรากฏในลักษณะของการไร้ความรู้สึก หรืออาการในลักษณะเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการวิเคราะห์โดยตรงประเภทใดที่บ่งชี้อาการ MH ได้อย่างชัดเจน
ดูเพิ่ม
- GeneReview/NIH/UW entry on Malignant Hyperthermia Susceptibility
- Malignant Hyperthermia Association of the United States
- Making Anesthesia Safer - Unraveling the Malignant Hyperthermia Puzzle เก็บถาวร 2008-05-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Marilyn Green Larach, FASEB "Breakthroughs in Bioscience"
- โรคกรรมพันธุ์ประหลาดแพ้ยาสลบ Malignant Hyperthermia เก็บถาวร 2016-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน โดยกลุ่มงานวิสัญญี โรงพยาบาลนครพิงค์
อุณหภูมิ |
|
||||
---|---|---|---|---|---|
การฉายรังสี |
|
||||
อากาศ | |||||
อาหาร | |||||
การรักษาที่ไม่เหมาะสม | |||||
การเดินทาง | |||||
ผลไม่พึงประสงค์ | |||||
อื่น ๆ | |||||
ไม่ได้จัดกลุ่ม สภาพผิวที่เกิดจาก ปัจจัยทางกายภาพ |
|