Мы используем файлы cookie.
Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.

ลิเทียมโบรไมด์

Подписчиков: 0, рейтинг: 0
ลิเทียมโบรไมด์
Lithium-bromide-3D-ionic.png
ชื่อตาม IUPAC Lithium bromide
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [7550-35-8][CAS]
PubChem 82050
EC number 231-439-8
RTECS number OJ5755000
SMILES
 
InChI
 
ChemSpider ID 74049
คุณสมบัติ
สูตรเคมี LiBr
มวลต่อหนึ่งโมล 86.845(3) g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งสีขาว
ความหนาแน่น 3.464 g/cm3
จุดหลอมเหลว

552 °C, 825 K, 1026 °F

จุดเดือด

1265 °C, 1538 K, 2309 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 143 g/100 mL (0 °C)
166.7 g/100 mL (20 °C)
266 g/100 mL (100 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายได้ในเมทานอล, เอทานอล, อีเทอร์และแอซีโทน
ละลายได้เล็กน้อยในไพริดีน
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.784
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation
ΔfHo298
-350.3 kJ/mol
-157 kJ/mol
Standard molar
entropy
So298
66.9 J/mol K
ความจุความร้อนจำเพาะ 51.88 J/mol K
ความอันตราย
NFPA 704
NFPA 704.svg
0
2
0
 
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
LD50 1800 mg/kg (rat, ทางปาก)
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ลิเทียมโบรไมด์ (Lithium bromide) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมี LiBr เตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างลิเทียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรโบรมิก ได้ลิเทียมโบรไมด์, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ตามสมการ:

Li2CO3 + HBr → LiBr + CO2 + H2O

ลิเทียมไฮดรอกไซด์ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรโบรมิก จะได้ลิเทียมโบรไมด์และน้ำเช่นกัน ตามสมการ:

LiOH + HBr → LiBr + H2O

ลิเทียมโบรไมด์มีคุณสมบัติเป็นสารไฮโกรสโคปิก (ดึงดูดและกักเก็บความชื้นได้) จึงมักใช้เป็นสารดูดความชื้นในระบบปรับอากาศและระบบทำความเย็น ในทางการแพทย์เคยใช้เป็นยากล่อมประสาทมาตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 แต่เสื่อมความนิยมในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1940 เนื่องจากมีผู้ป่วยโรคหัวใจเสียชีวิตหลังใช้สารนี้แทนเกลือ ลิเทียมโบรไมด์เคยใช้เป็นยารักษาโรคอารมณ์สองขั้วเช่นเดียวกับลิเทียมคาร์บอเนตและลิเทียมคลอไรด์

ลิเทียมโบรไมด์ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อผิวหนัง ดวงตา ระบบทางเดินหายใจและระบบประสาท จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง

แหล่งข้อมูลอื่น


Новое сообщение