Мы используем файлы cookie.
Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.

จุนสี

Подписчиков: 0, рейтинг: 0
จุนสี
Crystal of copper(II)sulfate4 · 5H2O
จุนสีสะตุ
Ball-and-stick model of the unit cell of anhydrous copper(II) sulfate
Space-filling model of part of the crystal structure of anhydrous copper(II) sulfate
ชื่อตาม IUPAC Copper(II) sulfate
ชื่ออื่น Cupric sulfate
Blue vitriol
Bluestone
Chalcanthite
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [7758-98-7][CAS],
7758-99-8 (pentahydrate)
PubChem 24462
EC number 231-847-6
RTECS number GL8800000 (anhydrous)
GL8900000 (pentahydrate)
คุณสมบัติ
สูตรเคมี CuSO4
มวลต่อหนึ่งโมล 159.61 g/mol (anhydrous)
249.68 g/mol (pentahydrate)
ลักษณะทางกายภาพ blue crystalline solid (pentahydrate)
gray-white powder (anhydrous)
ความหนาแน่น 3.603 g/cm3 (anhydrous)
2.284 g/cm3 (pentahydrate)
จุดหลอมเหลว

110 °C (−4H2O)
150 °C (423 K) (−5H2O)
< 650 °C decomp.

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 31.6 g/100 ml (0 °C)
ความสามารถละลายได้ anhydrous
ไม่ละลายในเอทานอล
pentahydrate
ละลายในเมทานอลและเอทานอล
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.514 (pentahydrate)
โครงสร้าง
โครงสร้างผลึก Triclinic
Coordination
geometry
Octahedral
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation
ΔfHo298
−769.98 kJ/mol
Standard molar
entropy
So298
109.05 J K−1 mol−1
ความอันตราย
MSDS ICSC 0751 (anhydrous)
ICSC 1416 (pentahydrate)
การจำแนกของ EU อันตราย (Xn)
ระคายเคือง(Xi)
อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม (N)
EU Index 029-004-00-0
R-phrases R22, R36/38, R50/53
S-phrases (S2), S22, S60, S61
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
LD50 300 mg/kg
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

จุนสี หรือ คอปเปอร์(II)ซัลเฟต (อังกฤษ: Copper (II) sulphate) เป็นสารประกอบของทองแดง กำมะถันและออกซิเจน ที่มีสูตรทางเคมี CuSO4 เกลือจุนสีพบได้หลายรูปแบบตามจำนวนโมเลกุลน้ำที่ประกอบอยู่ในผลึก จุนสีสะตุหรือจุนสีที่ปราศจากน้ำ (anhydrous) เป็นผงสีเทาขาว ขณะที่จุนสีที่พบได้บ่อยมีน้ำ 5 โมเลกุล (pentahydrate) มีสีฟ้าสด สารเคมีนี้ใช้ประโยชน์เป็นสารปราบวัชพืช สารกำจัดสัตว์และแมลงรบกวน สารฆ่าเชื้อรา

ในตำรายาบางครั้งเรียกจุนสีว่ากำมะถันเขียว แต่เดิมผลิตจากน้ำฉีดแร่ในเหมืองทองแดง นำมาต้มให้น้ำระเหย ใช้เป็นยาถอนพิษ กัดหูดและคุดทะราด ในภาษาไทยโบราณจะเรียกสีของจุนสีว่าสีเขียว

การเตรียม

การเตรียมจุนสีด้วยวิธีทางไฟฟ้าใช้อิเล็กโทรดทองแดงทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก

การผลิตจุนสีในเชิงอุตสาหกรรมทำได้โดยนำโลหะทองแดงไปทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกเข้มข้น หรือนำคอปเปอร์ออกไซด์ไปทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกเจือจาง


Новое сообщение