Мы используем файлы cookie.
Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.

ฟีนอล์ฟทาลีน

Подписчиков: 0, рейтинг: 0
ฟีนอล์ฟทาลีน
Phenolphthalein-low-pH-2D-skeletal.svg
Sample of solid phenolphthalein.jpg
ชื่อตาม IUPAC 3,3-bis(4-hydroxyphenyl)isobenzofuran-1(3H)-one
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [77-09-8][CAS]
PubChem 4764
DrugBank DB04824
KEGG D05456
SMILES
 
InChI
 
ChemSpider ID 4600
คุณสมบัติ
สูตรโมเลกุล C20H14O4
มวลโมเลกุล 318.32 g mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ผงสีขาว
ความหนาแน่น 1.277 g/cm3 (32 องศาเซลเซียส (90 องศาฟาเรนไฮต์))
จุดหลอมเหลว

258-263 °C, 268 K, -183 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ ละลายน้ำ
ความสามารถละลายได้ ใน ตัวทำละลายอื่น ไม่ละลายในเบนซีนและเฮกเซน,
ละลายได้ดีมากในเอทานอลและอีเทอร์,
ละลายได้บ้างใน DMSO
ความอันตราย
GHS pictograms GHS-pictogram-silhouette.svg
การจำแนกของ EU Toxic T Harmful Xn
NFPA 704
NFPA 704.svg
3
2
0
 
R-phrases R22, R40, R45, R62, R68
S-phrases S53, S45
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ฟีนอล์ฟทาลีน (อังกฤษ: phenolphthalein; ตัวย่อ: HIn, phph) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีคือ C20H14O4 นิยมใช้เป็นตัวบ่งชี้ (indicator) ในการไทเทรตกรด-เบส โดยจะไม่มีสีเมื่อทดสอบด้วยสารละลายกรดและมีสีชมพูอมม่วงเมื่อทดสอบด้วยสารละลายเบส นอกจากนี้ยังใช้เป็นยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์ ร่วมกับเมทิลเรด บรอมอไทมอลบลูและไทมอลบลู

ฟีนอล์ฟทาลีน (ตัวบ่งชี้พีเอช)
ต่ำกว่า pH 8.2 ระหว่าง
pH 10.0 และ 13.0
ไม่มีสี ชมพูอมม่วง

เมื่ออยู่ในรูปเอเควียส ฟีนอล์ฟทาลีนจะมี 4 รูปแบบดังตาราง:

รูปแบบ H3In+ H2In In2− In(OH)3−
โครงสร้าง Phenolphthalein-very-low-pH-2D-skeletal.svg Phenolphthalein-low-pH-2D-skeletal.svg Phenolphthalein-mid-pH-2D-skeletal.svg Phenolphthalein-high-pH-2D-skeletal.svg
แบบจำลอง Phenolphthalein-orange-very-low-pH-3D-balls.png Phenolphthalein-colourless-low-pH-3D-balls.png Phenolphthalein-red-mid-pH-3D-balls.png Phenolphthalein-colourless-high-pH-3D-balls.png
pH <0 0−8.2 8.2−12.0 >13.0
ความเป็นกรด-เบส กรดแก่ กรดถึงเกือบเป็นกลาง เบส เบสแก่
สี ส้ม ไม่มีสี ชมพูถึงชมพูอมม่วง ไม่มีสี
ภาพ Phenolphthalein-in-conc-sulfuric-acid.jpg Phenolphthalein-at-pH-9.jpg

ฟีนอล์ฟทาลีนเคยใช้เป็นยาระบายอย่างอ่อน แต่ต่อมาเลิกใช้เนื่องจากเป็นสารก่อมะเร็ง ฟีนอล์ฟทาลีนและโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นส่วนผสมหนึ่งในหมึกล่องหน โดยหมึกที่เลือนหายไปเกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ

การสังเคราะห์

ฟีนอล์ฟทาลีนสามารถสังเคราะห์ได้จากการควบแน่นของทาลิกแอนไฮไดรด์กับฟีนอลสองตัวภายใต้สภาวะเป็นกรด กระบวนการนี้ค้นพบในปี ค.ศ. 1871 โดยอดอล์ฟ ฟอน ไบเออร์

การสังเคราะห์ฟีนอล์ฟทาลีน

กระบวนการนี้สามารถเร่งปฏิกิริยาได้โดยการใช้สารผสมซิงค์คลอไรด์และไทโอนิลคลอไรด์

แหล่งข้อมูลอื่น


Новое сообщение