Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
แวนโคมัยซิน
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | /væŋkəˈmaɪsɪn/ |
ชื่อทางการค้า | Vancocin |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a604038 |
ข้อมูลทะเบียนยา | |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | รับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือด |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | Negligible (oral) |
การเปลี่ยนแปลงยา | Excreted unchanged |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 4 ถึง 11 ชั่วโมง (บุคคลทั่วไป) 6 ถึง 10 วัน (ผู้มีไตอ่อนแอ) |
การขับออก | ไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
DrugBank |
|
ChemSpider |
|
UNII | |
KEGG |
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.014.338 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C66H75Cl2N9O24 |
มวลต่อโมล | 1449.3 g.mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
แวนโคมัยซิน (Vancomycin) เป็นยาปฏิชีวนะ สำหรับรักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรีย อาทิ การติดเชื้อบนผิวหนัง, ในกระแสเลือด, ในกระดูก, ในข้อต่อ ตลอดจนเยื่อบุหัวใจอักเสบ และเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรีย จำเป็นต้องวัดความดันโลหิตก่อนเพื่อคำนวณปริมาณยาที่จะจ่าย สามารถรับยานี้ได้โดยทั้งวิธีฉีดเข้าหลอดเลือดดำและวิธีรับประทาน แต่แบบรับประทานออกฤทธิช้าทำไม่เป็นที่นิยมมากนัก
ผลข้างเคียงทั่วไปได้แก่ ปวดในบริเวณที่ติดเชื้อและมีอาการภูมิแพ้ ในบางครั้งอาจมีอาการได้ยินไม่ชัด, ความดันโลหิตต่ำ หรือการกดตัวในไขกระดูก ไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายาชนิดนี้เหมาะสมต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แต่ยังไม่มีประวัติการส่งทางลบต่อทารก สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ยาชนิดนี้ได้อย่างปลอดภัย ยาแวนโคมัยซินเป็นยาปฏิชีวนะประเภทไกลโคเปปไทด์ ทำงานโดยไปขัดขวางการสร้างตัวของผนังเซลล์
แวนโคมัยซินถูกจำหน่ายครั้งแรกในปี ค.ศ. 1954 ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก เป็นยาที่มีความปลอดภัยและมีประสิทธิผลสูง ปัจจุบันถูกจำหน่ายเป็นยาสามัญ
ยาต้านจุลชีพ − ประเด็นด้านสังคมและวัฒนธรรม
| |
---|---|
ประเภทของยาต้านจุลชีพ | |
ประเด็นด้านสังคม | |
เภสัชวิทยา |
ทางเดินอาหาร/ เมแทบอลิซึม (A) |
กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่
|
---|---|
เลือดและอวัยวะ สร้างเลือด (B) |
|
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด (C) |
ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์) |
ผิวหนัง (D) | |
ระบบสืบพันธุ์ (G) | |
ระบบต่อมไร้ท่อ (H) | |
การติดเชื้อและ การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI) |
|
มะเร็ง (L01-L02) | |
โรคทางระบบ ภูมิคุ้มกัน (L03-L04) |
|
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M) | |
สมองและระบบประสาท (N) | |
ระบบทางเดินหายใจ (R) | |
อวัยวะรับความรู้สึก (S) | |
อื่น ๆ (V) |