Мы используем файлы cookie.
Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.

ไนอาซิน

Подписчиков: 0, рейтинг: 0
ไนอาซิน
Kekulé, skeletal formula of niacin
Ball and stick model of niacin
ชื่อตาม IUPAC pyridine-3-carboxylic acid
ชื่อเรียกตามระบบ Pyridine-3-carboxylic acid
ชื่ออื่น Nicotinic Acid
Bionic

Vitamin B3

เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [59-67-6][CAS]
PubChem 938
EC number 200-441-0
DrugBank DB00627
KEGG D00049
MeSH Niacin
ChEBI 15940
RTECS number QT0525000
SMILES
 
InChI
 
Beilstein Reference 109591
Gmelin Reference 3340
ChemSpider ID 913
3DMet B00073
คุณสมบัติ
สูตรเคมี C6NH5O2
มวลต่อหนึ่งโมล 123.1094 g mol−1
ลักษณะทางกายภาพ White, translucent crystals
ความหนาแน่น 1.473 g cm−3
จุดหลอมเหลว

237 °C, 510 K, 458 °F

ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ 18 g L−1
log P 0.219
pKa 2.0,4.85
ดัชนีหักเหแสง (nD) 1.4936
Dipole moment 0.1271305813 D
อุณหเคมี
Std enthalpy of
formation
ΔfHo298
−344.9 kJ mol−1
−2.73083 MJ mol−1
Pharmacology
ATC code C04AC01
Routes of
administration
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, รับประทาน
Elimination
half-life
20–45 นาที
ความอันตราย
การจำแนกของ EU Hazard X.svg
NFPA 704
NFPA 704.svg
1
1
0
 
R-phrases R36/37/38
S-phrases S26, S36
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ไนอาซิน หรือ ไนอะซิน (อังกฤษ: niacin) หรือ กรดนิโคตินิก (อังกฤษ: nicotinic acid) หรือ วิตามินบี3 (อังกฤษ: vitamin B3) เป็นวิตามินชนิดที่ละลายในน้ำได้ ซึ่งจำเป็นใน Lipid Metabolism,Tissue respiration และ Glycogenolysis Nicotinic Acid ในปริมาณสูง ๆ จึงสามารถลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดได้ โดยฤทธิ์ของยาจะทำให้ระดับ Triacylglycerol ใน Plasma และ VLDL ลดลงภายใน 1-4 วัน ส่วนฤทธิ์ในการลดระดับโคเลสเตอรอลและ LDL นั้น 5-7 วันจึงจะเห็นผล และนอกจากนั้น Nicotinic Acid ยังสามารถเพิ่ม HDL อีกด้วย จากการทดลองผลการลดระดับไขมันในเลือดจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดหลังรับประทานยา 5-7 สัปดาห์ ยาส่วนเกินที่รับประทานเข้าไปจะขับออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะ ซึ่งร่างกายมนุษย์มีความต้องการวิตามินชนิดนี้

ผลกระทบที่ร่างกายได้รับ

ภาวะการได้รับไม่เพียงพอ

ดูบทความหลักที่: เพลแลกรา

เมื่อร่างกายได้รับไนอาซีนไม่เพียงพอจะทำให้เกิดอาการอาหารไม่ย่อย คันตามผิวหนัง ปลายประสาทและลิ้นอักเสบ ภาวะซีด ปวดท้องเวียนศีรษะ คลื่นไส้ ซึมเศร้า โรคผิวหนัง ท้องร่วง อ่อนเพลีย

ภาวะการได้รับเกินขนาด

เมื่อร่างกายได้รับไนอาซินมากกว่า 10-20 เท่าจะทำให้เกิดอาการท้องอืด ปวดท้อง หรือมีผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย

แหล่งที่พบ

แหล่งที่พบไนอาซินได้แก่ ตับ แครอท เนื้อมะเขือเทศ เห็ด เนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อวัว เครื่องในสัตว์ ใบตำลึง อาโวคาโด รำข้าว ลูกพรุน อินทผลัม

ดูเพิ่ม


Новое сообщение