Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
คลอร์เตตราไซคลีน
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
AHFS/Drugs.com | Micromedex Detailed Consumer Information |
ช่องทางการรับยา | By mouth, IV, topical |
รหัส ATC | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 30% |
การจับกับโปรตีน | 50 to 55% |
การเปลี่ยนแปลงยา | Hepatic (75%) |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 5.6 to 9 hours |
การขับออก | Renal and biliary |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
ChemSpider |
|
UNII | |
KEGG |
|
ChEMBL | |
E number | E702 (antibiotics) |
ECHA InfoCard | 100.000.310 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C22H23ClN2O8 |
มวลต่อโมล | 478.882 g/mol |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
จุดหลอมเหลว | 168 ถึง 169 องศาเซลเซียส (334 ถึง 336 องศาฟาเรนไฮต์) |
| |
7 7 (what is this?) (verify) | |
คลอร์เตตราไซคลีน (อังกฤษ: Chlortetracycline ชื่อการค้า Aureomycin, Lederle) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรกในกลุ่มเตตราไซคลีน คลอร์เตตราไซคลีนถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1945 โดยเบนจามิน มิงก์ ดักการ์ (Benjamin Minge Duggar) ขณะที่เขาทำงานอยู่ที่เลเดอร์ลีแลบอทอรีส์ (Lederle Laboratories) ภายใต้การดูแลควบคุมของเยลลาปรากาดา ซุบบาโรว์ (Yellapragada Subbarow) โดยดักการ์ประสบผลสำเร็จในการคัดแยกยาปฏิชีวนะชนิดนี้จากแบคทีเรียแอคติโนมัยสีทที่เพาะเลี้ยงได้จากตัวอย่างดินที่เก็บมาจากทุ่งแซนบอร์นที่มหาวิทยาลัยมิสซูรี โดยแบคทีเรียดังกล่าวถูกตั้งชื่อในภายหลังว่า Streptomyces aureofaciens และให้ชื่อการค้าแรกของยาดังกล่าวว่า Aureomycin ทั้งนี้เนื่องมาจากสีเหลืองทองของยาและแบคทีเรียที่ค้นพบดังกล่าว ส่วนในวงการสัตวแพทย์ คลอร์เตตราไซคลีนมักถูกนำมาใช้เพื่อรักษาเยื่อตาอักเสบในแมวอยู่บ่อยครั้ง
ทั้งนี้ การได้รับการรักษาด้วยคลอร์เตตราไซคลีนร่วมกับอะซีโนคูมารอลอาจเพิ่มฤทธิ์ต้านการแข็งตัวของเลือดของยาดังกล่าวได้ ดังนั้น ผู้ที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาสองชนิดนี้ร่วมกัน ควรมีการติดตามค่าพารามิเตอร์ที่เกี่ยวเนื่องกับการแข็งตัวของเลือดอย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ อาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงจากคลอร์เตตราไซคลีนอาจเพิ่มขึ้นได้เมื่อได้รับการบริหารยานี้ร่วมกับแอซิเทรทิน, อะดาพาลีน, หรืออะลิเทรทิโนอิน ส่วนการรับประทานยาหรืออาหารที่มีส่วนผสมของอะลูมิเนียมฟอสเฟตและอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์จะทำให้การดูดซึมคลอร์เตตราไซคลีนในทางเดินอาหารลดลงได้ ส่งผลให้ความเข้นข้นในกระแสเลือดและประสิทธิภาพการรักษาของคลอร์เตตราไซคลีนน้อยลงตามไปด้วย ยิ่งไปกว่านั้น การใช้คลอร์เตตราไซคลีนร่วมกับยาปฏิชีวนะชนิดอื่นบางชนิดอาจทำให้ประสิทธิภาพในการรักษาของยาที่ใช้ร่วมลดลง เช่น มีซิลลินัม (แอมดิโนซิลลิน), อะม็อกซีซิลลิน, และแอมพิซิลลิน เป็นต้น ในบางกรณีคลอร์เตตราไซคลีนก็อาจเพิ่มอาการไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงของยาอื่นที่ใช้ร่วมได้ เช่นในกรณีที่ใช้ร่วมกับอะทาคิวเรียมเบซิเลท (atracurium besilate) อาจทำให้ฤทธิ์หย่อนกล้ามเนื้อ (neuromuscular blocking effect) ของยานี้เพิ่มขึ้นได้
ยาต้านจุลชีพ − ประเด็นด้านสังคมและวัฒนธรรม
| |
---|---|
ประเภทของยาต้านจุลชีพ | |
ประเด็นด้านสังคม | |
เภสัชวิทยา |
สารป้องกันฟันผุ | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สารต้านการติดเชื้อและสารระงับเชื้อ |
แอมโฟเทอริซินบี • เบนโซโซเนียมคลอไรด์ • คลอเฮกซิดีน • โดมิเฟน โบรไมด์ • ดอกซีไซคลีน • ยูจินอล • เฮเซทิดีน • ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ • เมพาร์ทริซิน • เมโทรนิดาโซล • มิโคนาโซล • มิโนไซคลีน • นาตาไมซิน • นีโอไมซิน • ออกซีควิโนลีน • พอลินอกซิลิน • โซเดียมเปอร์บอเรต • เตตราไซคลีน • ไทเบโซเนียมไอโอไดด์ • โคลไตรมาโซล • คลอร์เตตราไซคลีน
|
||||||||
คอร์ติโคสเตอรอยด์ (กลูโคคอร์ติคอยด์) | |||||||||
อื่นๆ | |||||||||
|
ทางเดินอาหาร/ เมแทบอลิซึม (A) |
กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่
|
---|---|
เลือดและอวัยวะ สร้างเลือด (B) |
|
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด (C) |
ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์) |
ผิวหนัง (D) | |
ระบบสืบพันธุ์ (G) | |
ระบบต่อมไร้ท่อ (H) | |
การติดเชื้อและ การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI) |
|
มะเร็ง (L01-L02) | |
โรคทางระบบ ภูมิคุ้มกัน (L03-L04) |
|
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M) | |
สมองและระบบประสาท (N) | |
ระบบทางเดินหายใจ (R) | |
อวัยวะรับความรู้สึก (S) | |
อื่น ๆ (V) |