Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ไรโบเฟลวิน
ไรโบเฟลวิน | |
---|---|
ชื่อตาม IUPAC | 7,8-dimethyl- 10- ((2R,3R,4S) - 2,3,4,5- tetrahydroxypentyl) benzo [g] pteridine- 2,4 (3H,10H) - dione |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [83-88-5][CAS] |
PubChem | 1072 |
MeSH | Riboflavin |
SMILES |
|
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | C17H20N4O6 |
มวลต่อหนึ่งโมล | 376.36 g/mol |
จุดหลอมเหลว |
290 °C (dec.) |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
ไรโบเฟลวิน (อังกฤษ: riboflavin) หรือ วิตามินบี2 (อังกฤษ: vitamin B2) จัดอยู่ในชนิดวิตามินที่ละลายในน้ำได้ ใช้ในการเจริญเติบโต เมื่อขาดจะกลายเป็นคนแคระเกร็น จำเป็นต่อเอนไซม์และกระบวนการเมทาบอลิซึมของสารอาหารต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะไขมัน ป้องกันไขมันอุดตันในเส้นเลือด อันเป็นสาเหตุให้เส้นเลือดแข็งตัว ขจัดไขมันชนิดอิ่มตัวในเส้นเลือด ช่วยระงับอาการตาแฉะได้ จึงใช้เป็นส่วนประกอบในยาหยอดตา
ผลกระทบที่ร่างกายได้รับ
ภาวะการได้รับไม่เพียงพอ
หากได้รับไรโบเฟลวินไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย จะทำให้เกิดอาการหลายอย่างเช่น อ่อนเพลีย คอบวม ผิวหนังแตกระคายเคือง, โลหิตจาง โดยผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการขาดหรือได้รับวิตามินชนิดนี้ไม่เพียงพอมักเป็นผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยเรื้อรัง, ติดสุรา, หรือผู้ที่มีฐานะยากจน
ภาวะการได้รับเกินขนาด
โดยทั่วไปการได้รับไรโบเฟลวินในปริมาณที่สูงกว่าค่า RDA มักไม่พบผลข้างเคียงที่เป็นพิษ แต่หากได้รับวิตามินชนิดนี้ในปริมาณที่สูงมาก ๆ อาจเกิดผลข้างเคียงที่เป็นพิษเช่น ปัสสาวะสีเหลือง, หมดสติ, รู้สึกแสบร้อนหรือเป็นโรคหิดได้
- สารเสริมฤทธิ์ เช่น วิตามินบีรวม
- สารต้านฤทธิ์ เช่น ยาคุมกำเนิดชนิดรับประทาน, ยาปฏิชีวนะ และสุรา
แหล่งที่พบ
ไรโบเฟลวิน พบได้ทั่วไปในอาหารหลายประเภท เช่น ในพืชผักต่าง ๆ ที่มีใบสีเขียว รวมถึงในเนื้อสัตว์, ถั่ว, ธัญพืช และผลไม้ต่าง ๆ
ละลายในไขมัน |
|
||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ละลายในน้ำ |
|
||||||||
ผสม |
ทางเดินอาหาร/ เมแทบอลิซึม (A) |
กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่
|
---|---|
เลือดและอวัยวะ สร้างเลือด (B) |
|
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด (C) |
ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์) |
ผิวหนัง (D) | |
ระบบสืบพันธุ์ (G) | |
ระบบต่อมไร้ท่อ (H) | |
การติดเชื้อและ การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI) |
|
มะเร็ง (L01-L02) | |
โรคทางระบบ ภูมิคุ้มกัน (L03-L04) |
|
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M) | |
สมองและระบบประสาท (N) | |
ระบบทางเดินหายใจ (R) | |
อวัยวะรับความรู้สึก (S) | |
อื่น ๆ (V) |