Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ยาต้านรีโทรไวรัส
ยาต้านรีโทรไวรัส (อังกฤษ: Antiretroviral drugs) คือยาต้านไวรัสประเภทหนึ่ง ใช้สำหรับรักษาการติดเชื้อรีโทรไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มไวรัสเอชไอวี โดยอาศัยการรักษาร่วมโดยยาสามถึงสีชนิด โดยรู้จักว่าเป็นการักษารีโทรไวรัสที่มีประสิทธิภาพสูง (อังกฤษ: Highly Active Antiretroviral Therapy: HAART) ในหลายสถาบันสุขภาพทั่วโลกต่างแนะนำให้ใช้การรักษาด้วยยาต้านรีโทรไวรัสสำหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ทุกคน ทั้งนี้ผู้ป่วยจำเป็นต้องบริหารยานี้อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความรุนแรงจากอาการอันไม่พึงประสงค์ของยาและป้องกันการดื้อยา ลายองค์กรมีความพยายามให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมกับแผนการรักษาใทางเลือกต่างๆ และแนะนำให้วิเคราะห์ความเสียงและประโยชน์จาการบริหารยาเพื่อลดปริมาณไวรัสในกระแสเลือด (อังกฤษ: Viral Load)
ซิโดวูดีน (อังกฤษ: Zidovudine) เป็นยาต้านรีโทรไวรัสชนิดแรกที่ได้รับการรับรองให้ใช้โดยคณะกรรมการอาหารและยา ของประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1987 และได้มีการพัฒนายาขนานใหม่เรื่อยมาจนแบ่งได้หลายกลุ่มในปัจจุบัน
ประวัติ
ชนิด
- ชนิดยับยั้งการนำเข้า (Entry inhibitors) หรือการรวมกัน (fusion inhibitors) โดยไปรบกวนการจับของเชื้อเอชไอวีวัน (HIV-1) กับ host cell โดยการขัดขวางเป้าหมาย มียาที่สำคัญในกลุ่มนี้คือ มาราไวรอค (Maraviroc) และเอ็นฟูเวอร์ไทด์ (Enfuvirtide)
- แอนตาโกนิสต์ของตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ (CCR5 receptor antagonists) เป็นยาต้านรีโทรไวรัสตัวแรกที่ไม่ได้มีเป้าหมายที่ไวรัสโดยตรง โดยการจับกับตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ (CCR5 receptor) บนผิวของทีเซลล์และขัดชวางการจับของไวรัสต่อเซลล์ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเชื้อเอชไอวีจะใช้ตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ในการยึดเกาะเข้าจับกับทีเซลล์ ดังนั้นหากไวรัสไม่สามารถยึดเกาะได้ก็จะยังผลมาด้วยการไม่สามารถนำเข้าเซลล์ตลอดจนการรีพลิเคชันได้
- การยับยั้งเอนไซมม์นิวคลิโอไซด์รีเวิร์สทรานส์คริปเทส (Nucleoside reverse transcriptase inhibitors: NRTI) และยับยั้งนิวคลิโอไทด์ริเสิร์สทรานส์ตนิปเทส (Neucleotide Reverse transciptase inhibitors: NtRTI)
Two additional inhibitors under investigation are bevirimat and Vivecon.
สูตรและแนวทางการรักษา
เภสัชบำบัด
อาการอันไม่พึงประสงค์
บัลติมอร์ I |
|
||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ไวรัสตับอักเสบบี (VII) | |||||||||||||||||||||
หลายกลไก/ทั่วไป |
|
||||||||||||||||||||
ไวรัสตับอักเสบซี |
|
||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
พิคอร์นาไวรัส | |||||||||
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ | |||||||||
หลายกลไก/ทั่วไป |
|
||||||||
ทางเดินอาหาร/ เมแทบอลิซึม (A) |
กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่
|
---|---|
เลือดและอวัยวะ สร้างเลือด (B) |
|
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด (C) |
ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์) |
ผิวหนัง (D) | |
ระบบสืบพันธุ์ (G) | |
ระบบต่อมไร้ท่อ (H) | |
การติดเชื้อและ การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI) |
|
มะเร็ง (L01-L02) | |
โรคทางระบบ ภูมิคุ้มกัน (L03-L04) |
|
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M) | |
สมองและระบบประสาท (N) | |
ระบบทางเดินหายใจ (R) | |
อวัยวะรับความรู้สึก (S) | |
อื่น ๆ (V) |