Продолжая использовать сайт, вы даете свое согласие на работу с этими файлами.
ไอโซโพรพานอล
Isopropyl alcohol | |
---|---|
ชื่อตาม IUPAC | isopropyl alcohol |
2-Propanol | |
ชื่ออื่น | Propan-2-ol; Isopropanol; แอลกอฮอล์เช็ดแผล; sec-Propyl alcohol; s-Propanol; iPrOH; IPA |
เลขทะเบียน | |
เลขทะเบียน CAS | [67-63-0][CAS] |
PubChem | 3776 |
UN number | 1219 |
KEGG | D00137 |
ChEBI | 17824 |
RTECS number | NT8050000 |
ATC code | D08AX05 |
SMILES |
|
ChemSpider ID | 3644 |
คุณสมบัติ | |
สูตรโมเลกุล | C3H8O |
มวลโมเลกุล | 60.1 g mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | Colorless liquid |
ความหนาแน่น | 0.786 g/cm3 (20 °C) |
จุดหลอมเหลว |
−89 °C, 184 K, -128 °F |
จุดเดือด |
82.6 °C, 356 K, 181 °F |
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | miscible |
ความสามารถละลายได้ | ผสมกับ เบนซีน คลอโรฟอร์ม เอทานอล อีเทอร์ กลีเซอริน แล้วเข้ากันได้ ละลายได้ในอะซีโทน ไม่ละลายในสารละลายไอออนิก |
pKa | 16.5 |
ดัชนีหักเหแสง (nD) | 1.3776 |
ความหนืด | 2.86 cP at 15 °C 1.96 cP at 25 °C 1.77 cP at 30 °C |
Dipole moment | 1.66 D (gas) |
ความอันตราย | |
MSDS | External MSDS |
GHS pictograms | |
อันตรายหลัก | Flammable |
NFPA 704 | |
R-phrases | R11 R36 R67 |
S-phrases | S7 S16 แม่แบบ:S24 แม่แบบ:S25 S26 |
จุดวาบไฟ | Open cup: 11.7 องศาเซลเซียส (53.1 องศาฟาเรนไฮต์) Closed cup: 13 องศาเซลเซียส (55 องศาฟาเรนไฮต์) |
อุณหภูมิที่ติดไฟด้วยตัวเอง | 399 องศาเซลเซียส (750 องศาฟาเรนไฮต์) |
Explosive limits | 2–12.7% |
U.S. Permissible exposure limit (PEL) |
TWA 400 ppm (980 mg/m3) |
LD50 | 3600 mg/kg (oral, mouse) 12800 mg/kg (dermal, rabbit) LC50 = 53000 mg/m3 (inhalation, mouse) |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
สถานีย่อย:เคมี |
ไอโซโพรพานอล (Isopropanol) หรือ ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ (Isopropyl alcohol) หรือ 2-โพรพานอล (2-Propanol) หรือโพรพาน-2-ออล (Propan-2-ol) เป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งซึ่งนิยมใช้เป็นสารฆ่าเชื้อในทางการแพทย์ มักใช้ผสมกับอะซีโทนหรือน้ำกลั่นโดยให้แอลกอฮอล์มีปริมาณ 70% โดยปริมาตร เป็นของเหลวใสไม่มีสี กลิ่นรุนแรง และเป็นไอโซเมอร์โครงสร้างกับ1-โพรพานอล จะต่างกันตรงที่มีหมู่ไฮดรอกซิล ต่อที่คาร์บอนตัวที่สองแทนที่จะเป็นปลาย
ไอโซโพรพานอลผสมเข้ากับน้ำ อีเทอร์ และคลอโรฟอร์มได้ดี โดยเมื่อผสมกับน้ำแล้วจะเกิดเป็นสารกลั่นแยกไม่ได้ (azeotrope) สารนี้รับประทานไม่ได้ และมีจุดเยือกแข็งต่ำลง (คือ ช่วงอุณหภูมิที่เป็นของเหลวกว้างขึ้น) นอกจากนี้ยังเป็นตัวทำละลายเอทิลเซลลูโลส โพลิไวนิลบิวทิรัล น้ำมัน อัลคาลอยด์ และยางไม้ได้ แต่ไม่ละลายในสารละลายเกลือ จึงทำให้สามารถแยกออกจากสารละลายได้โดยเติมเกลือแกง โซเดียมซัลเฟต หรือเกลืออนินทรีย์อย่างอื่นเพื่อให้แอลกอฮอล์แยกชั้นออกมา ไอโซไพรพานอลมีสภาพดูดกลืน ที่ 205 nm ภายใต้สเปกตรัมรังสีอัลตราไวโอเลต
ไอโซโพรพานอลผลิตได้โดยอาศัยปฏิกิริยาเติมน้ำเข้ากับโพรพีน จากกฎของมาร์คอฟนิคอฟซึ่งกล่าวว่า ไฮโดรเจนมีแนวโน้มจะผนวกเข้ากับคาร์บอนที่มีไฮโดรเจนมากกว่าเสมอ จึงทำให้เกิดไอโซโพรพานอล มากกว่าที่จะเป็น 1-โพรพานอล หรืออาจจะใช้ปฏิกิริยาของโพรพีนกับกรดซัลฟิวริก ให้ให้เกิดซัลเฟตเอสเทอร์ ที่เมื่อสลายด้วยน้ำแล้วจะได้ไอโซโฟรพิลแอลกอฮอล์ ในกระบวนการอย่างหลังจะมีไดไอโซโพรพิลอีเทอร์เป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนำกลับเข้าสู่กระบวนการอีกครั้ง นอกจากนี้ ไอโซโพรพานอลยังผลิดได้โดยเติมไฮโดรเจนลงในอะซีโทนก็ได้
ไอโซโพรพานอลถูกนำไปใช้งานมากมาย อาทิ เป็นตัวทำละลายประสิทธิภาพสูงและมีพิษน้อยกว่าตัวทำละลายชนิดอื่น ใช้ทำความสะอาดคราบน้ำมัน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และใช้ผสมน้ำ 60 - 75% เพื่อฆ่าเชื้อโรค เช่น รอบบาดแผล หรือล้างมือ หากไม่ผสมน้ำ เยื้อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรียจะไม่เปิดออกเพื่อให้แอลกอฮอล์ออกฤทธิ์ได้
ซัลโฟนาไมด์ (และกรดอีทาไครนิก) |
|
||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
โพแทสเซียมสแปริง (ที่ CD) |
|
||||||||
ออสโมติก (ที่ PT, DL) | |||||||||
ยับยั้งตัวรับวาโสเพรสซิน (ที่ DCT และ CD) |
|||||||||
อื่นๆ | |||||||||
ทางเดินอาหาร/ เมแทบอลิซึม (A) |
กรดกระเพาะ (ยาลดกรด, สารต้านตัวรับ H2 , ยายับยั้งการหลั่งกรด) • ยาแก้อาเจียน • ยาระบาย • ยาแก้ท้องร่วง • ยาลดความอ้วน • ยาต้านเบาหวาน • วิตามิน • เกลือแร่
|
---|---|
เลือดและอวัยวะ สร้างเลือด (B) |
|
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด (C) |
ยารักษาโรคหัวใจ/ยาแก้อาการปวดเค้นหัวใจ (คาร์ดิแอคไกลโคไซด์ , ยาต้านภาวะหัวใจเสียจังหวะ , ยากระตุ้นหัวใจ) • ยาลดความดัน • ยาขับปัสสาวะ • สารขยายหลอดเลือด • เบต้า บล็อกเกอร์ • แคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ • ระบบเรนิน-แองจิโอเทนซิน (เอซีอีอินฮิบิเตอร์ , แองกิโอเทนซินรีเซพเตอร์บล๊อคเกอร์ , เรนินอินฮิบิเตอร์) • ยาลดไขมันในเส้นเลือด (สแตติน , ไฟเบรต , ไบล์แอซิดซีเควสแตรนต์) |
ผิวหนัง (D) | |
ระบบสืบพันธุ์ (G) | |
ระบบต่อมไร้ท่อ (H) | |
การติดเชื้อและ การติดเชื้อปรสิต (J, P, QI) |
|
มะเร็ง (L01-L02) | |
โรคทางระบบ ภูมิคุ้มกัน (L03-L04) |
|
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อต่อ (M) | |
สมองและระบบประสาท (N) | |
ระบบทางเดินหายใจ (R) | |
อวัยวะรับความรู้สึก (S) | |
อื่น ๆ (V) |